สุขภาพดี อยู่ที่พฤคิกรรมสุขภาพของแต่ละบุคคล
พฤติกรรมสุขภาพจะประกอบด้วย 6 อ. คือ
1. พฤติกรรมด้านอาหาร รับประทานอาหารที่มีคุณค่า และมีประโยชน์ ปลอดภัยไม่กินอาหารที่บั่นทอนสุขภาพ
2. พฤติกรรมด้านอารมณ์ มีอารมณ์แจ่มใสไม่เครียด ร้จักการจัดการกับความเครียด ลดความวิตกกังวล
3. พฤติกรรมด้านอโรคยา การป้องกันโรคที่สามารถป้องกันได้ เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก
4. พฤติกรรมด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม จัดบ้านเรือนให้ถูกสุขลักษณะ ไม่รกรุงรัง ไม่มีน้ำขังเฉอะแฉะข้างบ้าน อันเป็นที่เพาะพันธุ์ของพาหะนำโรค
5. พฤติกรรมด้านอบายมุข และการพนัน หลีกเลี่ยงการย่งเกี่ยวกับยาเสพติด การพนัน
6. พฤติกรรมด้านออกกำลังกาย โดยออกกำลังกายไม่น้อยกว่าสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้ละ 30-50นาที
ทั้งนี้ ทุกคนจะต้องเข้าใจในพฤติกรรมของตนเอง ว่าตนเองมีพฤติกรรมอย่างไร ถูกต้องหรือไม่ จะทำอย่างไรหรือปรับ Life style ของตนเองอย่างไร เพื่อให้มีสุขภาพที่ดียืนยาว อย่เป็นร่มโพธิ์ร่มไทรของลูกหลานและเป็นปูชนียบุคคลของชุมชน ในภาครัฐจะเน้นให้ชุมชนมีการรวมกล่มเพื่อให้มีพลังที่เข้มแข็ง เช่น กลุ่มสร้างสุขภาพ กลุ่มผ้สูงอายุ กลุ่มวัยทอง กลุ่มวัยทำงาน เป็นต้น
วันศุกร์ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2551
วันอังคารที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551
หมออนามัยในวันนี้ คือ ที่พึ่งด่านแรกของชุมชน
ประชาชนจะมีสุขภาพดีได้นั้น ไม่ได้อยู่ที่เจ้าหน้าที่สาธารณสุข แต่อยู่ที่ตัวประชาชนเอง ที่จะต้องสนใจในสุขภาพของตนเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 6 อ. ที่ประชาชนต้องรู้และปฏิบัติด้วยตนเอง นั่นก็คือ
อ. ออกกำลังกาย อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน ๆละ 30-45 นาที
อ. อาหารที่มีคุณค่า
อ. อนามัยสิ่งแวดล้อมที่ดี
อ. อโรคยา การป้องกันโรคที่ป้องกันได้ เช่น มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก ความดันโลหิตสูง เบาหวาน
อ. อบายมุข และการพนัน ควรหลีกเลี่ยง
อ. อารมณ์ มีจิตใจที่แจ่มใสเบิกบาน
อ. ออกกำลังกาย อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน ๆละ 30-45 นาที
อ. อาหารที่มีคุณค่า
อ. อนามัยสิ่งแวดล้อมที่ดี
อ. อโรคยา การป้องกันโรคที่ป้องกันได้ เช่น มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก ความดันโลหิตสูง เบาหวาน
อ. อบายมุข และการพนัน ควรหลีกเลี่ยง
อ. อารมณ์ มีจิตใจที่แจ่มใสเบิกบาน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)